
Yoryanis Isabel Bernal Varela

Young feminist activists play a critical role in women’s rights organizations and movements worldwide by bringing up new issues that feminists face today. Their strength, creativity and adaptability are vital to the sustainability of feminist organizing.
At the same time, they face specific impediments to their activism such as limited access to funding and support, lack of capacity-building opportunities, and a significant increase of attacks on young women human rights defenders. This creates a lack of visibility that makes more difficult their inclusion and effective participation within women’s rights movements.
AWID’s young feminist activism program was created to make sure the voices of young women are heard and reflected in feminist discourse. We want to ensure that young feminists have better access to funding, capacity-building opportunities and international processes. In addition to supporting young feminists directly, we are also working with women’s rights activists of all ages on practical models and strategies for effective multigenerational organizing.
We want young feminist activists to play a role in decision-making affecting their rights by:
Fostering community and sharing information through the Young Feminist Wire. Recognizing the importance of online media for the work of young feminists, our team launched the Young Feminist Wire in May 2010 to share information, build capacity through online webinars and e-discussions, and encourage community building.
Researching and building knowledge on young feminist activism, to increase the visibility and impact of young feminist activism within and across women’s rights movements and other key actors such as donors.
Promoting more effective multigenerational organizing, exploring better ways to work together.
Supporting young feminists to engage in global development processes such as those within the United Nations
Collaboration across all of AWID’s priority areas, including the Forum, to ensure young feminists’ key contributions, perspectives, needs and activism are reflected in debates, policies and programs affecting them.
The Forum theme––Rising Together––is an invitation to engage with our whole selves, to connect with each other in focused, caring and brave ways, so that we can feel the heartbeat of global movements and rise together to meet the challenges of these times.
Feminist, women’s rights, gender justice, LBTQI+ and allied movements around the world are at a critical juncture, facing a powerful backlash on previously-won rights and freedoms. Recent years have brought the rapid rise of authoritarianisms, the violent repression of civil society and criminalization of women and gender-diverse human rights defenders, escalating war and conflict in many parts of our world, the continued perpetuation of economic injustices, and the intersecting health, ecological and climate crises.
Our movements are reeling and, at the same time, seeking to build and maintain the strength and fortitude required for the work ahead. We can't do this work alone, in our silos. Connection and healing are essential to transforming persistent power imbalances and fault lines within our own movements. We must work and strategize in interconnected ways, so that we can thrive together. The AWID Forum fosters that vital ingredient of interconnectedness in the staying power, growth and transformative influence of feminist organizing globally.
El 2 de septiembre de 2021 lxs increíbles activistas feministas y por la justicia social del festival Crear | Résister | Transform de AWID nos juntamos no solo para compartir estrategias, crear juntxs y transformar al mundo sino también para decir cosas sucias en Twitter.
Este ejercicio lo facilitó Nana Darkoa Sekyiamah, una de las fundadoras del blog Adventures From The Bedrooms of African Women [Aventuras desde los dormitorios de mujeres africanas] y autora de The Sex Lives of African Women, [Las vidas sexuales de las mujeres africanas] que se asoció con la plataforma digital mujerista y queer panafricana AfroFemHub, para preguntar cómo podemos explorar nuestro placer, nuestros deseos y nuestras fantasías en forma segura y consensuada a través de mensajes de texto.
Creo que esta pregunta es fundamental porque involucra una cuestión más amplia: cómo nos manejamos en el mundo virtual desde una perspectiva feminista. Bajo el capitalismo, los discursos en torno a los cuerpos y al sexo pueden resultar deshumanizadores y distorsionadores; gestionar el placer sexual en espacios virtuales puede sentirse un acto performativo. Por eso, buscar vías para explorar cómo podemos compartir nuestro deseo en formas afirmativas y que nos entusiasmen puede ser una forma de resistir a los modelos dominantes de presentación y consumo así como una reivindicación de estos espacios y sus posibilidades de participación auténtica, demostrando que todo el sexting debería ser exactamente así: feminista.
Además, permitir que el discurso feminista asuma su lado más juguetón en el ámbito virtual nos ayuda a reformular esa narrativa tan difundida por la que actuar como feminista implica hacerlo con amargura y sin placer alguno. Pero, como bien sabemos, divertirnos es parte de nuestro trabajo político y un compomente intrínseco de lo que implica ser feminista.
Utilizando la etiqueta #SextLikeAFeminist, [SextComoFeminista] académiquxs y activistas de distintas partes del mundo aportaron sus tuits feministas más sedientos de placer y aquí les presento a mis diez favoritos.
Como lo demuestran estos tuits, resulta que sextear como feminista es sexy, divertido – y caliente – todo eso sin perder de vista el compromiso con la equidad y la justicia.
Prenons notre temps. Les orgasmes, comme la constitution des mouvements féministes, prennent du temps, de l’énergie et un peu de créativité.
“ภารกิจในชีวิตของฉันไม่ใช่แค่การอยู่รอดเท่านั้น แต่ยังต้องเจริญเติบโตอีกด้วย และทำให้เต็มที่ด้วยแรงปรารถนา ด้วยความเห็นอกเห็นใจ ด้วยอารมณ์ขัน และมีสไตล์” - มายา แองเจลู (Maya Angelou)
เวทีการประชุมนานาชาติ AWID เป็นทั้งกิจกรรมชุมชนระดับโลกและพื้นที่ของการเปลี่ยนแปลงของปัจเจก บุคคลอย่างสิ้นเชิง เป็นการประชุมที่ไม่เหมือนใคร คือเป็นที่รวบรวมนักสตรีนิยม นักปกป้องสิทธิสตรี ความยุติธรรมทางเพศ LBTQI+ และพันธมิตรในขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อมนุษยชาติอันหลากหลาย เพื่อเชื่อมต่อ เยียวยาและเติบโต เวทีนานาชาตินี้เป็นพื้นที่ที่นักสตรีนิยมจากทั่วทุกมุมโลก รวมถึงจากประเทศในกลุ่มโลกใต้ และชุมชนชายขอบที่ไม่ได้รับการเหลียวแลมาอย่างยาวนาน เป็นศูนย์กลางในการวาง ยุทธศาสตร์ร่วมกัน และเคลื่อนไหวเพื่อความยุติธรรมทางสังคม เพื่อเปลี่ยนอำนาจ สร้างพันธมิตร และ สร้างโลกที่แตกต่างและดีขึ้น
เมื่อผู้คนทั่วโลกมารวมตัวกันทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและองค์กรเคลื่อนไหว เราสามารถสร้างพลังอันยิ่งใหญ่ จึงขอเชิญท่านร่วมกิจกรรมกับเราที่กรุงเทพฯ ประเทศไทยในปี 2567 มาร้องเพลง เต้นรำ วาดฝัน และลุกขึ้นพร้อมกัน
วันที่: 2–5 ธันวาคม 2567
สถานที่: กรุงเทพฯ ประเทศไทย; และทางออนไลน์
ผู้เข้าร่วม: นักสตรีนิยมจากทั่วโลกเข้าร่วมด้วยตนเอง ณ สถานที่จัดงานประมาณ 2,500 คน และเข้าร่วม
ทางออนไลน์ 3,000 คน
การเสวนา: ในการเสวนาให้สำรวจปัญหาหรือความท้าทายจากมุมมองที่แตกต่างกัน หรือแบ่งปัน การเรียนรู้หรือประสบการณ์ ตามด้วยคำถามของผู้ฟังหากมีเวลา
รายการทอล์คโชว์: สนทนาแบบเป็นไปเองในรูปแบบรายการทอล์คโชว์ โดยอาจเป็นการสนทนา ร่วมกันหลายคน มีพิธีกรเป็นผู้ดำเนินรายการ คำถามของผู้ฟังสามารถกำหนดทิศทางของการสนทนาได้
การอภิปราย: วงสนทนาอภิปรายอาจอยู่ในรูปแบบเวิร์ลคาเฟ่ วงอ่างปลา (fishbowls) และรูปแบบอื่นๆ ที่เอื้อให้ผู้เข้าร่วมมีส่วนร่วมในการสนทนามากขึ้น
การประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop): เป็นกิจกรรมเชิงโต้ตอบที่เชิญชวนผู้เข้าร่วมสร้างทักษะใหม่ๆในทุกด้านของชีวิตและการเคลื่อนไหวผ่านกิจกรรมและการปฏิบัติ
หัวข้อยุทธศาสตร์: เป็นการเชิญชวนให้คิดผ่านประเด็นหรือยุทธศาสตร์ในเชิงลึกร่วมกับคนอื่น เปิดพื้นที่ สำหรับเรียนรู้กันและกัน สิ่งใดได้ผล ไม่ได้ผล และเราจะพัฒนายุทธศาสตร์ใหม่ๆร่วมกันเพื่อสร้างโลกที่ เราใฝ่ฝันได้อย่างไร
วงแลกเปลี่ยนของคนแนวเดียวกัน: (หรือที่เรียกว่า "Birds of a Feather") เหมาะสำหรับกลุ่มเล็กๆ ในบรรยากาศที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้น เพื่อรับฟังความคิดเห็นของกันและกัน จุดประกาย การอภิปราย และ หยิบยกประเด็นหัวข้อที่เฉพาะเจาะจง ละเอียดอ่อน และซับซ้อนอย่างระมัดระวัง
ศิลปะ - การประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม: กิจกรรมศิลปะอย่างมีส่วนร่วม และการแสดงออก อย่างสร้างสรรค์ ไม่ว่าจะเป็นทัศนศิลป์ การละคร ภาพยนตร์ จิตรกรรมฝาผนัง การเต้นรำ ดนตรี งานฝีมือ หรือการสร้างงานศิลปะ ฯลฯ เรายินดีรับทุกแนวคิดที่เชิดชูศิลปะ และความคิดสร้างสรรค์แนวสตรีนิยมใน รูปแบบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเยียวยา การแสดงออก และการเปลี่ยนแปลง
ศิลปะ - การแสดง ศิลปะจัดวาง และนิทรรศการ: เรายินดีรับผลงานที่นำเสนอประสบการณ์ และมุมมองใหม่ๆแก่ผู้เข้าร่วมประชุมในเวทีนี้เพื่อขยายขอบเขตของเรา สร้างความท้าทายและสร้าง แรงบันดาลใจ ให้เราคิด รู้สึก และจัดการด้วยวิธีใหม่ๆ
การเยียวยาและบำบัด: กิจกรรมหลากหลายที่เหมาะกับกลุ่มและปัจเจกบุคคล ตั้งแต่การเรียนรู้เทคนิค การผ่อนคลาย ไปจนถึงการพูดคุยถึงการป้องกันภาวะหมดไฟ และตั้งแต่การดูแลร่างกาย จิตใจและ จิตวิญญาณ โดยคำนึงถึงบาดแผลทางจิตใจ ไปจนถึงการเยียวยารอยร้าวในขบวนการเคลื่อนไหวของเรา
Lindiwe Rasekoala es una instructora de vida que se especializa en la intimidad y en orientación sobre el bienestar de las relaciones. Es una entusiasta de la salud sexual y contribuye con trabajos en línea. Por su propia experiencia y métodos no convencionales de investigación, cree que puede superar la brecha educativa y la falta de acceso a la información en torno al bienestar sexual. Colabora con varios programas de radio y televisión, y ha concluido una capacitación en orientación con Certified Coaches Alliance. La misión de Lindiwe es derribar las barreras que impiden el diálogo sobre el bienestar sexual y como medio de empoderamiento para sus clientes, de tal modo que puedan alcanzar una mayor autocomprensión y experimentar una vida y relaciones más saludables y holísticas.
لينديوي راسيكوالا مدربة حياتية، متخصصة في التدريب على العلاقات الحميمة. إنها متخصصة بالصحة الجنسية ولديها مساهمات في هذا الموضوع عبر الإنترنت. من خلال تجاربها الخاصة وأساليب البحث غير التقليدية التي تنتهجها، تعتقد لينديوي أنها تستطيع سد الفجوة التعليمية، فيما خص الصحة الجنسية وإشكالية الوصول إلى المعلومات حول الموضوع. لها العديد من المساهمات في البرامج الإذاعية والتلفزيونية، وقد أكملت تعليمها كمدرب مع تحالف المدربين المعتمدين CCA. تتمثل مهمة لينديوي في كسر الحواجز التي تحول دون قيام المحادثات حول الصحة الجنسية، وتمكين زملائها من تحقيق فهم أكبر لأنفسهم، حتى يتمكنوا من تجربة نمط حياة وعلاقات أكثر صحية وتكامليّة.